วันจันทร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

เส้นฟ้าที่ขอบฟ้า

เส้นบางสีฟ้าโค้งตามชั้นบรรยากาศ พร้อมๆกับดวงอาทิตย์กำลังลับขอบฟ้า บันทึกจากมุมมองของลูกเรือที่ประจำการอยู่บนสถานีอวกาศนานาชาติ ขณะที่ยานอวกาศแอตแลนติสได้แยกตัวจากสถานีไปเมื่อช่วงสายของวันที่ 25 พ.ย. 2552 (ภาพ NASA)
โดย : ASTV ผู้จัดการออนไลน์ 25 พ.ย. 2552

บทคัดย่อ โครงงานฟิสิกส์...อาจารย์กลยุทธ ทะกอง














































































































บทคัดย่อโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการเปรียบเทียบการเจริญเติบโตและองค์ประกอบทางเคมีบางชนิดของผักกวางตุ้งในการปลูกแบบใช้ดินและไม่ใช้ดิน

ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบการเจริญเติบโตและองค์ประกอบทางเคมีบางชนิดของผักกวางตุ้ง
ในการปลูกแบบใช้ดินและไม่ใช้ดิน
ผู้จัดทำโครงงาน นางสาวฉัตรสุมาลย์ ทวีกลาง
นางสาวณัฐวรรณ แรตสันเทียะ
นางสาวสลิลทิพย์ หวังภูกลาง
ครูที่ปรึกษา นางสาวพุทธิภา เหล็กคงสันเทียะ
นายรังสรรค์ แสงขามป้อม
สถานศึกษา โรงเรียนขามสะแกแสง

บทคัดย่อ

การศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตและองค์ประกอบทางเคมีบางชนิดของผักกวางตุ้ง
ในการปลูกแบบใช้ดินและไม่ใช้ดิน โดยใช้สารละลายตามสูตรของ Enshi มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของการปลูกผักกวางตุ้งโดยวิธีไม่ใช้ดิน เพื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของผักกวางตุ้งที่ปลูกโดยใช้ดินและไม่ใช้ดิน และเพื่อเปรียบเทียบสารสกัดเคมีบางชนิดของผักกวางตุ้งที่ปลูกโดยใช้ดินและไม่ใช้ดิน หลังการปลูกอายุ 40 วัน พบว่า ผักกวางตุ้งที่ปลูกแบบใช้ในสารละลายธาตุอาหารมีน้ำหนักสดเฉลี่ยเท่ากับ 25.08 กรัม/ต้น ซึ่งมากกว่าผักกวางตุ้งที่ปลูกในดินมีน้ำหนักสดเฉลี่ย เท่ากับ 24.33 กรัม/ต้น ผักกวางตุ้งที่ปลูกในสารละลายธาตุอาหารมีน้ำหนักแห้งเฉลี่ย เท่ากับ 3.57 กรัม/ต้น ซึ่งมากกว่าผักกวางตุ้งที่ปลูกในดินมีน้ำหนักแห้งเฉลี่ย เท่ากับ 2.92 กรัม/ต้น ความสูงของผักกวางตุ้งที่ปลูกในสารละลายธาตุอาหารเมื่ออายุ 10, 20, 30 และ 40 วัน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 8.52, 16.46, 25.18 และ 29.88 ซม./ต้น ตามลำดับ มากกว่าในดินซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 7.38, 15.82, 24.33 และ 28.06 ซม./ต้น ตามลำดับ
การตรวจสอบทางเคมีเบื้องต้นของสารสกัดจากใบผักกวางตุ้ง พบว่า เมื่อทดสอบด้วย Keller-kiliani test ผักกวางตุ้งที่ปลูกในดิน พบว่า ใบผักกวางตุ้งที่ปลูกในดินเกิดสีม่วงให้ผล +3 และในสารละลายธาตุอาหารเกิดสีม่วงเช่นกันแต่บริเวณรอยต่อระหว่างสารละลายกับกรดกำมะถันมีวงแหวนให้ผล +1 แสดงให้เห็นว่าผักกวางตุ้งที่ปลูกในดินน่าจะมีสารกลุ่ม cardiac glycoside มากกว่าผักกวางตุ้งที่ปลูกในสารละลาย เมื่อทดสอบด้วย Fehling’s test ผักกวางตุ้งที่ปลูกในดินและ
ในสารละลาย พบว่าเกิดตะกอนสีแดงอิฐ ผักกวางตุ้งที่ปลูกในดินและในสารละลายธาตุอาหารให้ผลเท่ากับ +2 และ +1 ตามลำดับ ดังนั้น ผักกวางตุ้งที่ปลูกในดินมีปริมาณน้ำตาลมากกว่าผักกวางตุ้ง ที่ปลูกในสารละลายธาตุอาหาร
Title Comparative study on productivity and some chemical composition of
Brassica chinensis in soil and soilless culture
Student Names Chatsumarn Taweeklang
Natthawan Raetsuntia
Sallintip Wangpooklang
Advisors Phuttipa Legkongsuntia
Rugsun Sangkhampom
School Khamsakaesang

Abstract
The education compares with the progress and some kind element of Canton vegetables in growing likes [ model ] to use the earth and don't use the earth by use the solution follows a formula of Enshi there is the objective for study the possibility of growwing vegetables the Canton by don't use the earth , for compare with the progress of Canton vegetables which grows by use the earth and don't use the earth and compare with a substance separates some kind chemistry of Canton vegetables which grow by use the earth and don't use the earth growwing back age 40 fully day, meet that , Canton vegetables which grow to like [ model ] to use in nutrient solution weighs fresh share to equal to 25.08 gram / Started which more than Canton vegetables which grow in the earth weighs fresh share to equal to 24.33 gram/ early. Canton vegetables which grow to take dissolve the nutrient weighs dry share to equal to 3.57 gram/ early. Which more than Canton vegetables which grow in the earth weighs dry share , equal to 2.92 gram / early Height of vegetables cultivated in Cantonese food element solution when age 10, 20, 30 and 40 days with an average equal to 8.52, 16.46, 25.18 and 29.88 cm / early respectively than in soil that has average equal to 7.38, 15.82, 24.33 and 28.06 cm / from respectively.
Checking way the chemistry at the beginning of a substance is extracted from Canton vegetables , Found that when tested with. Keller-kiliani test. Canton vegetables which grow in the earth meets that , Canton vegetables which grow in the earth is born violet give a result +3 and in nutrient solution is born violet also but , joint area between the solution and sulphuric acid have the ring give a result +1 , indicate that , Canton vegetables which grow in the earth will should have group substance cardiac glycoside more than Canton vegetables which grow in the solution. When tested with Fehling's test Cantonese vegetables cultivated in soil and in solution. meet that , be born red brick sediment , Canton vegetables which grow in the earth and in nutrient solution give a result to equal to +2 and +1 respectively thus , Canton vegetables which grow in something the earth has sugar quantity more than Canton vegetables , at grow in nutrient solution.

ผู้บริหาร โรงเรียนขามสะแกแสง


นายคำรณ ทศสิริวัฒน์
ผู้อำนวยการโรงเรียนขามสะแกแสง

นายสม แคงสันเทียะ
รองผู้อำนวยการฝ่ายกิจการนักเรียน

นางจินดา เสือบุญ
รองผู้อำนวยการฝ่ายบริหารงานทั่วไป

นางสุพิชฌาย์ โสแก้ว
รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ

นางสุภาพ ขอพึ่งกลาง
รองผู้อำนวยการฝ่ายแผนและงบประมาณ

วันอาทิตย์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

บุคลากรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนขามสะแกแสง


นายกลยุทธ ทะกอง
กศ.ม.ฟิสิกส์ ค.บ.วิทยาศาสตร์
หัวหน้ากลุ่มสาระฯ



นายอมรวัฒน์ ชนะภักดิ์
กศ.ม.การบริหารการศึกษา ค.บ.ฟิสิกส์
รองหัวหน้ากลุ่มสาระฯ



นางจินตนา แอบจันอัด
ค.บ.ชีววิทยา



นายสมัย คงนันทะ
กศ.บ.เคมี



นางนงเยาว์ หวังกลาง
กศ.บ.วิทยาศาสตร์


นางสุวคนธ์ คำศรี
กศ.บ.วิทยาศาสตร์

นางพรพิมล เรืองบุญ
ค.บ.ชีววิทยา
นายวิโรจน์ ดวนสันเทียะ
ค.บ.เคมี


นางสาวณัฏฐกันย์ ดอกสันเทียะ
กศ.ม.ชีววิทยา ค.บ.วิทยาศาสตร์



นายรังสรรค์ แสงขามป้อม
ค.บ.ฟิสิกส์


นางแสงเดือน อะช่วยรัมย์
ค.บ.เคมี



นางสาวพุทธิภา เหล็กคงสันเทียะ
ค.ม.การบริหารการศึกษา วท.บ.ชีววิทยา



นายฉัตรชัย ชาลีบัว
วท.บ.เทคโนโลยีชีวภาพ















วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

วิทยาศาสตร์_ขามสะแกแสง


ข่าว กิจกรรมต่างๆ การแข่งขันทางวิชาการ การเผยแพร่ผลงานวิชาการนักเรียนและครู ของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนขามสะแกแสง อ.ขามสะแกแสง จ.นครราชสีมา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต 5