วันอังคารที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2552
วันศุกร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2552
ตุ๊กแก ‘สลัดหาง’ ใครว่าไม่เหนื่อย
ตุ๊กแกลัดหางเพื่อล่าเหยื่อให้ละความสนใจจากมัน แต่ใครจะรู้ว่าการสลัดหางตนเองทิ้งนั้นตุ๊กแกต้องใส่แรงเข้าไปขนาดไหน ผลการศึกษานี้รายงานในวารสาร Phyological and Zoology ดร. Trish Fleming ผู้ร่วมศึกษา จากวิทยาลัยเเพทยศาสตร์และชีววิทยาการแพทย์ มหาวิทยาลัย Murdoch กล่าวว่า cuadal autonomy หรือความสามารถในการสลัดหางของตนเองเมื่อโดนจู่โจมเป็นกลไกการหลบหนีของผู้ล่าของสิ่งมีชีวิตในตระกูลจิ้งจกจำนวน 13 ชนิด จาก 20 ชนิด เมือหางหลุดไปผู้ล่าจะละความสนใจจากตุ๊กแก แล้วหันไปสนใจหางของมันแทน หางของตุ๊กแกจะเคลื่อนที่สะเปะสะปะ และขณะที่ผู้ล่ากำลังสนใจกับส่วนหาง ตุ๊กแกก็จะสามารถหลบหนีได้อย่างง่ายดาย
Flemisg และคณะร่วมกันศึกษาตุ๊กแกแคระจากแอฟริกาใต้สายพันธุ์ Lygodactylus capensis พบว่าเมื่อมันปล่อยหางไปแล้วจะเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น เนื่องจากแรงเสียดทานที่พื้นและน้ำหนักตัวของมันลดลง
อย่างไรก็ตามสิ่งที่น่าประหลาดใจ คือ ตุ๊กแกไร้หางจะมีความสามารถในการวิ่งหนีน้อยลงและเคลื่อนที่ได้เพียงระยะสั้นๆ Fleming คาดว่าลักษณะนี้น่าจะขึ้นกับจิ้งจกแต่ละสายพันธุ์ และพบว่าระยะทางที่ตุ๊กแกไร้หางเคลื่อนที่ลดลง 19% และเชื่อว่าตุ๊กแกอาศัยไขมันที่กักเก็บอยู่ที่ส่วนหางซึ่งมีประมาณ 8.7% ของมวลร่างกายเป็นพลังงานในการเคลื่อนที่
เมื่อขาดหางไป ตุ๊กแกจะขาดกรดไขมันในกระแสเลือดซึ่งช่วยในการเคลื่อนที่ การที่ขาดพลังงานที่กักเก็บไว้ที่ส่วนหางนี้ทำให้พวกมันเคลื่อนที่ช้าลง
อย่างไรก็ตาม Fleming เชื่อว่าต้องอาศัยการทดลองอื่นมายืนยันสมมติฐานนี้ว่าถูกต้องหรือไม่ การศึกษาต่อไปจะเป็นการศึกษาในพื้นที่จริงว่าตุ๊กแกขาดหางจะเคลื่อนที่หนีผู้ล่าได้เร็วขนาดไหน และต้องใช้เวลาเพียงใดในการงอกหางใหม่มาทดแทน
พบว่าตุ๊กแกที่ขาดหางจะมีความระแวดระวังมากขึ้น พวกมันรับรู้ว่าเกิดการเปลี่ยนเเปลงขึ้นกับร่างกายและรับรู้ว่าเป้นสภาวะที่เปราะบาง ซึ่งล้วนส่งผลต่อพฤติกรรมของมัน
ที่มา : www.vicharkaran.co/vnews/152767
งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 9-11 ธันวาคม 2552(จ.อุบลราชธานี)
ผลการแข่งขัน งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2552
1. การแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง ม.1-3(การศึกษาเปรียบเทียบความสามารถในการงอกและการเจริญเติบโตของถั่วเขียว ถั่วดำ ถั่วฝักยาว และถั่วพร้าในสารละลายโซเดียมคลอไรด์ความเข้มข้นต่างๆ
78.6 คะแนน/เหรียญเงิน(-อันดับ 21 ระดับภาคฯ -อันดับ 2 ระดับจังหวัด จากทั้งหมด 61 ทีม)
ด.ญ.กัลยรัตน์ ใยจันอัด ม.2/6
ด.ญ.กาญจนา โคลงกระโทก ม.2/7
ด.ญ.ธีราพร ปาปะขี ม.2/7
ที่ปรึกษา
นางสาวณัฐกันย์ ดอกสันเทียะ
นางแสงเดือน อะช่วยรัมย์
2. การแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ม.1-3(บ้านพลังงาน) เป็นตัวเเทนไปแข่งระดับประเทศ
87.5 คะแนน/เหรียญทอง(-อันดับ 2 ระดับภาคฯ -อันดับ 1 ระดับจังหวัด จากทั้งหมด 61 ทีม)
ด.ญ.สมฤทัย มุ่งกลาง ม.2/7
ด.ช.วีรศักดิ์ แถลงกลาง ม.2/7
ด.ช.สุรชัย ครูสอนดี ม.2/7
ที่ปรึกษา
นายกลยุทธ ทะกอง
นายฉัตรชัย ชาลีบัว
3. การแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ม.4-6(ครกกระเดื่องพันธุ์ใหม่พลังงาน 3 ระบบ)
86.7 คะแนน/เหรียญทอง(-อันดับ 6 ระดับภาคฯ -อันดับ 1 ระดับจังหวัด จากทั้งหมด 61 ทีม)
น.ส.ศิริพร ศรีม่วงกลาง
นายศักดิ์ชัย เกตุกลางดอน
น.ส.ชุดาภา ถ้ำกลาง
ที่ปรึกษา
นายกลยุทธ ทะกอง
นายอมรวัฒน์ ชนะภักดิ์
4. อัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์
58.08 คะแนน/ไม่ได้รับเหรียญ(อันดับ50 ระดับภาคฯ -อันดับ 6 ระดับจังหวัด จากทั้งหมด 61 ทีม)
น.ส.อริษา วงษ์ศรีวอ
น.ส.พิรุณรัตน์ อาจโคกสูง
น.ส.สิริมา ทาสันเทียะ
ที่ปรึกษา
นายสมัย คงนันทะ
นางจินตนา แอบจันอัด
นายวิโรจน์ ดวนสันเทียะ
ขอขอบคุณ แขวงการทางอุบลราชธานีที่เอื้อเฟื้อที่พัก
1. การแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง ม.1-3(การศึกษาเปรียบเทียบความสามารถในการงอกและการเจริญเติบโตของถั่วเขียว ถั่วดำ ถั่วฝักยาว และถั่วพร้าในสารละลายโซเดียมคลอไรด์ความเข้มข้นต่างๆ
78.6 คะแนน/เหรียญเงิน(-อันดับ 21 ระดับภาคฯ -อันดับ 2 ระดับจังหวัด จากทั้งหมด 61 ทีม)
ด.ญ.กัลยรัตน์ ใยจันอัด ม.2/6
ด.ญ.กาญจนา โคลงกระโทก ม.2/7
ด.ญ.ธีราพร ปาปะขี ม.2/7
ที่ปรึกษา
นางสาวณัฐกันย์ ดอกสันเทียะ
นางแสงเดือน อะช่วยรัมย์
2. การแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ม.1-3(บ้านพลังงาน) เป็นตัวเเทนไปแข่งระดับประเทศ
87.5 คะแนน/เหรียญทอง(-อันดับ 2 ระดับภาคฯ -อันดับ 1 ระดับจังหวัด จากทั้งหมด 61 ทีม)
ด.ญ.สมฤทัย มุ่งกลาง ม.2/7
ด.ช.วีรศักดิ์ แถลงกลาง ม.2/7
ด.ช.สุรชัย ครูสอนดี ม.2/7
ที่ปรึกษา
นายกลยุทธ ทะกอง
นายฉัตรชัย ชาลีบัว
3. การแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ม.4-6(ครกกระเดื่องพันธุ์ใหม่พลังงาน 3 ระบบ)
86.7 คะแนน/เหรียญทอง(-อันดับ 6 ระดับภาคฯ -อันดับ 1 ระดับจังหวัด จากทั้งหมด 61 ทีม)
น.ส.ศิริพร ศรีม่วงกลาง
นายศักดิ์ชัย เกตุกลางดอน
น.ส.ชุดาภา ถ้ำกลาง
ที่ปรึกษา
นายกลยุทธ ทะกอง
นายอมรวัฒน์ ชนะภักดิ์
4. อัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์
58.08 คะแนน/ไม่ได้รับเหรียญ(อันดับ50 ระดับภาคฯ -อันดับ 6 ระดับจังหวัด จากทั้งหมด 61 ทีม)
น.ส.อริษา วงษ์ศรีวอ
น.ส.พิรุณรัตน์ อาจโคกสูง
น.ส.สิริมา ทาสันเทียะ
ที่ปรึกษา
นายสมัย คงนันทะ
นางจินตนา แอบจันอัด
นายวิโรจน์ ดวนสันเทียะ
ขอขอบคุณ แขวงการทางอุบลราชธานีที่เอื้อเฟื้อที่พัก
หนูถึงที่พักแล้ว รีดผ้าก่อนนะคะ เดี๋ยวจะแต่งตัวแล้วดูไม่เรียบร้อย
ถึงที่พักแล้ว
พวกเราก็ซ้อมอย่างหนักเหมือนกัน
โอ้ โฮ....ไม้ชี้หรือนี่
พวกเรามาฟังเพื่อนซ้อมนำเสนอโครงงานแบบตั้งใจ๋ ตั้งใจ
สาวน้อยเสื้อเขียวมานั่งติวหรือนั่งทำอะไรจ๊ะ
ว่าแต่...สองสาวเวลาคุยกัน ต้องโทรคุยเลยเหรอ
หล่อๆ สวยๆ ทั้งนั้น
กลุ่มหุ่นยนต์มือ รื้อออกมาแล้วประกอบให้ได้เหมือนเดิมนะ(เดี๋ยวฝรั่งจะมีความผิดอีก...หาว่าฝรั่งทำเกิน)
ขอบคุณพี่ๆ ม.ปลายที่ร่วมแรงร่วมใจขนอุปกรณ์ (ที่หนั๊ก หนัก)และยังมานอนเผ้าให้อีกต่างหาก....ขอบคุณครับ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)